Page 172 - มฤดกกรุงเก่า | The Old Capital’s Heritage
P. 172

ผ้าพิมพ์ลายอย่างโบราณ























































           “ผ้าลายอย่าง”

                                                                   �
           ในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น “ผ้าลายอย่าง” (กร่อนมาจากคาว่า ผ้าลายอย่างไทย ดังท่ใช้เป็นผ้าห่อคัมภีร์ท่วัด
                                                                                                        ี
                                                                                        ี
           ย่านอ่างทอง) เป็นผ้าฝ้ายพิมพ์ลาย ช่างชาวสยามเป็นผู้ออกแบบลวดลายแล้วส่งไปพิมพ์ท่ประเทศอินเดีย ถือกันว่าเป็นผ้าชั้นสูง
                                                                              ี
                                  ึ
                                                                     ี
                                                                            �
                                                                            ้
           เป็นของพระราชทานอย่างหน่ง การพระราชทานผ้าและของมีค่า เช่น เสล่ยง ขันนา พานรอง ให้แก่ข้าราชการผู้มีความดี
           ความชอบเมื่อครั้งยังไม่มีเงินเดือนประจ�า เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมไทย
           ความนิยมผ้าพิมพ์ลายจากอินเดียลดน้อยลงหลังการเปิดประเทศตามสนธิสัญญาเบาว์ริง (พ.ศ.๒๓๙๘) “ผ้าลายอย่าง” จึงพลอย
           หมดไปด้วย
                                                              ่
                                                        �
           ปัจจุบน “ผ้าลายอย่าง” แบบอยุธยาได้รับการฟื้นฟูขนอีกคารบหนึง นายวัชรพงศ์ ระดมสทธิพัฒน์ ผู้มีบทบาทสาคัญในการ
                                                                                                  �
                                                                                ิ
                                                   ้
                                                   ึ
                ั
           อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมกรุงเก่า อธิบายว่า “ผ้าลายอย่าง” สมัยใหม่เป็นผ้าพิมพ์ลายอย่างโบราณ ตามแบบท่นิยมสวมใส่กันในสมัย
                                                                                          ี
           กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
                                                                             ี
                                                       ี
           กระบวนการผลิตประกอบด้วยการศึกษาและคัดลอกลายท่พบในผืนผ้าโบราณหรือลายท่พบในจิตรกรรมฝาผนังตามวัดวาอาราม
           ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วแยกส่วนแม่ลาย ลงสี ก่อนนาแบบไปแกะพิมพ์ไม้ น�ามาพิมพ์ลงบนผ้าให้เต็มผืนตามแบบ
                                                           �
           ขั้นตอนการประกอบลายและพิมพ์ถ้าต้องการอนุรักษ์วิธีเดิมก็ใช้มือท�าทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการ
           พิมพ์สมัยใหม่เอื้อให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ประกอบลายและใช้เครื่องพิมพ์ ได้งานคุณภาพดีและสะดวกรวดเร็วขึ้นกว่าเดิม


             170
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177