Page 20 - มฤดกกรุงเก่า | The Old Capital’s Heritage
P. 20

วัดกลาง อ�าเภอนครหลวง






















































           วัดกลาง อำาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ริมแม่น�้าป่าสัก ใกล้เทศบาลต�าบลนครหลวง
                                          ี
                                             ี
                                                                                           ั
                                                                                    ื
                                                                         ั
           ตัวมณฑปวัดกลาง เป็นอาคารปูนทรงส่เหล่ยมจัตุรัสฝีมือช่างชาวบ้าน หลังคาช้นแรกมุงกระเบ้องลาดท้ง ๔ ด้าน ตรงกลาง
           ต่อหลังคาแบบปิรามิดยอดแหลมขึ้นไปอีกชั้น รอบมณฑปเป็นก�าแพงแก้ว สวยงาม เรียบง่าย ได้สัดส่วน
                                                                         ้
            ้
                                                                                       ่
                                             ้
                                      ่
           ปายบรรยายของกรมศิลปากรบอกวาน่าจะสรางหลังสมัยรัชกาลที่ ๔ ขึ้นมา การสรางมณฑปขึ้นริมแมน�้าป่าสักซึ่งเป็นทางสัญจร
           ไปนมัสการพระพุทธบาท น่าจะได้รับอิทธิพลจากมณฑปพระพุทธบาท สระบุรี
           จิตรกรรม วาดบนผนังด้านในมณฑป ๒ ระดับคือ ระดับเหนือบานประตูกับระหว่างบานประตูทั้ง ๔ ด้าน ดูจากเส้นสายและ
           การใช้ส เป็นฝีมือช่างชาวบ้าน วาดราวยครชกาลท ๕ - ๖ ระดับเหนือบานประต จิตรกรนิรนามวาดภาพแบ่งพระบรมธาตุ
                                            ั
                                                                           ู
                                                  ่
                                                  ี
                 ี
                                          ุ
           (มีค�าบรรยายสั้น ๆ ใต้ภาพ) ภาพขบวนพระมหากัสสปะก�าลังเดินทาง โดยมีอาชีวกผู้ถือดอกมณฑารพผูกติดกิ่งไม้ต่างร่ม และ
           เป็นผู้บอกข่าวปรินิพพานยืนอยู่ข้างหน้า ภาพการขี่ช้าง การเดินทางกลางป่าเขาล�าเนาไพร และภาพพระอัครสาวกนั่งเรียงแถว
                                                                                                      ้
                                                                                                      �
           ระหว่างบานประตู วาดภาพบ้านเมือง ขบวนช้าง บางตอนยังเป็นภาพร่าง ภาพพระมาลัยถือตาลปัตร ภาพส่วนใหญ่ถูกนาท่วม
           เลอะเลือนเสียหายเกือบหมด บนคอสอง วาดรูปแจกันดอกไม้
           กลางมณฑป ก่อแท่นสูงทรงส่เหล่ยมล้อกับทรงมณฑป ประดิษฐานประติมากรรมพระพุทธรูปปางพระพุทธเจ้าเข้านิพพาน
                                   ี
                                      ี
           มีบันไดให้ขึ้นไปนมัสการได้ทั้ง ๔ ทิศ




             18
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25