Page 93 - มฤดกกรุงเก่า | The Old Capital’s Heritage
P. 93

(ภาพบนซ้าย)
                          ึ
               ทวารบาลคู่หน่งในวิหารพระอินทร์แปลง เขียนเป็นภาพอสูร
               ๒ ตนกายสีเขียวและแดง ถือคันศรยืนแท่น เขียนลายดอกไม้ร่วง
               บนพื้นหลังสีด�า

               (ภาพบนขวา)
                                     ึ
               ช่างเขียนภาพพระภิกษุรูปหน่งยืนอยู่ช่องประตูเหนือบันไดของ
               อาคารหลังวิหารพระนอนภายในวัดเสนาสนาราม ลักษณะเป็น
               ภาพเหมือนบุคคลอย่างจิตรกรรมตะวันตก สันนิษฐานว่าเป็น
               พระพรหมเทพาจารย์ (บุญรอด พฺรหฺมเทโว) เจ้าอาวาสรูปแรก
               ของวัด นับว่าเป็นภาพเหมือนบุคคลในจิตรกรรมฝาผนังยุคแรกๆ
               ของไทยอีกภาพหนึ่ง


               (ภาพล่างขวา)
               จิตรกรรมภายในซ้มพระป่าเลไลยก์ในวิหารพระอินทร์แปลง ไม่ม  ี
                            ุ
               เร่องราว ช่างเขียนทัศนียภาพประกอบด้วยอาคารบ้านเรือน
                ื
                  �
               เรือสาเภาอย่างในยุโรป เบ้องล่างภาพเขียนเป็นโรงสี มีทัศนียวิทยา
                                 ื
               ใกล้ไกลแบบจิตรกรรมตะวันตก เข้าใจว่าในยุคนั้นมีภาพพิมพ์จาก
               ต่างประเทศเข้ามาในเมืองไทย ช่างอาจได้เห็นและน�ามาเป็น
               แบบวาด พบภาพเขียนในสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่มีลักษณะเดียวกันนี้
               ในวัดหลายแห่ง
                                   ี
               กล่าวกันว่านับแต่รัชกาลท่ ๔ ได้ “ขรัวอินโข่ง” มาเป็นจิตรกร คต ิ
               การเขียนภาพอุดมคติอย่างไทยประเพณีก็มีกล่นอายจิตรกรรม
                                                  ิ
                                                        ี
               ตะวันตกมาผสมผสานมากข้น จนเกิดเป็นสกุลช่างท่เรียกว่า                                        91
                                     ึ
               “สกุลช่างขรัวอินโข่ง”
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98