Page 9 - มฤดกกรุงเก่า | The Old Capital’s Heritage
P. 9

บทน�า






                       “การสร้างศิลปและนิยมชมชอบศิลปจะเป็นคุณประโยชน์ใช้งานใช้การอะไรให้แก่คนได้บ้าง ถ้าว่าถึง
                                                            ี
                                   �
                                                                                                 ี
                ประเทศไทย ก็จะตอบคาถามเหล่านี้โดยยกตัวอย่างมาช้ให้เห็นได้เป็นจ�านวนพันๆ คือ ท่วัดวาอาราม ท่พระพุทธรูป
                                                                                     ี
                ที่ภาพจิตรกรรม และศิลปกรรมอย่างอื่นๆ ซึ่งบรรพบุรุษของไทยได้มอบไว้ให้เป็นมรดกแก่ชาตินับเป็นเวลามาตั้ง
                พันปีแล้ว ศิลปในสมัยอดีตย่อมสาแดงให้เห็นเป็นพยานอยู่ในพระศาสนา ในวัฒนธรรม และในความเป็นบัณฑิต
                                           �
                ของชนชาติไทย”
                                                                                         ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
                                                                                     (แปลโดยพระยาอนุมานราชธน)
                                                          พรุ่งนี้ก็ช้าเสียแล้ว และ ศิลปเก่าอันเป็นมรดกที่ไทยได้รับจากบรรพบุรุษ
                                                                                             ตีพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๐๐




                       นับแต่องค์ปฐมกษัตริย์ คือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ หรือพระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็น

                                                                                         ั
                         ื
                                                                                           ิ
                ราชธานีเม่อพุทธศักราช ๑๘๙๓ แล้ว กรุงศรีอยุธยาก็มีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบมาท้งส้นอีก ๓๓ พระองค์
                ก่อนจะสิ้นสุดความเป็นราชธานีลงเมื่อพุทธศักราช ๒๓๑๐
                                                           ั
                       ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี กรุงศรีอยุธยาได้ส่งสมความเจริญรุ่งเรืองท้งด้านเศรษฐกิจและศิลปวัฒนธรรม
                                                                               ั
                                                                                          ื
                มีเกียรติภูมิเป็นท่รับรู้อย่างกว้างขวางในบรรดานานาประเทศท่มีสัมพันธภาพต่อกัน แม้เม่อไม่เป็นราชธานีแล้ว
                              ี
                                                                   ี
                พระนครศรีอยุธยาก็ยังคงเป็นหัวเมืองสาคัญของกรุงเทพฯ ด้วยเป็นศูนย์เช่อมโยงการคมนาคมต่อเนื่องสู่ภาคเหนือ
                                               �
                                                                           ื
                                                    ็
                                                      ิ
                                                                                                         ็
                                                                                                ั
                                                                              ื
                                                            ั
                                                      ่
                                                                                    ่
                และภาคตะวนออกเฉียงเหนือของประเทศ  เปนถนพ�านกของประชาชาวสยามสบมาไมขาดสาย และยงคงความเปน
                          ั
                                                              ี
                ชุมชนขนาดใหญ่ท่รักษาความทรงจ�าของ “เมืองกรุงเก่า” ท่เป็นต้นแบบของเมืองหลวงใหม่ไว้ให้แก่ประชาชนชาวไทย
                               ี
                                                                         ี
                       ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ ๕ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓)
                                                        ี
                เม่อทรงสถาปนาพระราชวังบางปะอินข้นเพื่อเป็นท่ประทับแปรพระราชฐานนอกพระนคร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                                               ึ
                  ื
                                 ึ
                ก็ได้รับการยกฐานะข้นเป็นมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า ‘มณฑลกรุงเก่า’ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘  เวลานับสิบปีหลังจากน้น
                                                                                                         ั
                                                                                                �
                                                                ิ
                ประวัติศาสตร์ศิลปะ-โบราณคดีของกรุงเก่าก็ได้รับการเร่มบันทึกศึกษาอย่างจริงจังโดยบุคคลสาคัญคนหนึ่ง
                 ึ
                ซ่งภายหลังได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นพระยาโบราณราชธานินทร์ สยามินทรภักดี พิริยะพาหะ (พร เดชะคุปต์)
                สมุหเทศาภิบาล
                                                 ี
                                              ื
                                                                                         ี
                       ปัจจุบัน พระนครศรีอยุธยามีช่อเสยงในฐานะนครประวติศาสตร์ เป็นแหล่งมรดกโลกท่พรั่งพร้อมด้วยโบราณ
                                                                 ั
                สถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุต่างๆ ที่เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (intangible cultural heritage) จ�านวน
                มาก มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมซึ่งประกอบด้วย สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ศิลปวัตถุอันล�้าเลิศ
                ถึงข้นท่เรียกว่าเป็นศิลปะช้นเย่ยม (classic)  รวมถึงงานหัตถศิลป์ของช่างฝีมือท้องถ่นอันประณีต งดงาม และภาพถ่าย
                      ี
                   ั
                                        ี
                                     ั
                                                                                 ิ
                อันทรงคุณค่า ที่พบเห็นได้ทั้งในพิพิธภัณฑสถาน วัดวาอาราม และเรือนร้านบ้านราษฎร เหล่านี้  ล้วน “ส�าแดงให้
                เห็นเป็นพยาน” ถึง “ความเป็นบัณฑิตของชนชาติไทย” ท่จังหวดพระนครศรีอยุธยาควรอวดต่อโลกด้วยความ
                                                                ี
                                                                     ั
                ภาคภูมิใจโดยแท้จริง
                                                                                                           7
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14